"เมื่อสงสัยว่ายาหรืออาหารเสริมบารุงสุขภาพที่ใช้อยู่นั้นมีส่วนผสมของสเตียรอยด์หรือไม่ เราสามารถทดสอบได้ด้วยข้อสังเกตเบื้องต้น 4 ต้องสงสัยดังนี้
1) เป็นผลิตภัณฑ์ยา อาหารเสริม หรือสมุนไพร ที่ไม่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุข ไม่มีเลขทะเบียนใดๆ มีแต่สติกเกอร์แปะหน้าซอง ชื่อยา และอวดอ้างสรรพคุณ
2) มีการโฆษณาว่าสามารถรักษาอาการปวดเมื่อย ปวดเข่า ปวดข้อ หรือรักษาโรครูมาตอยด์ โรคอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ ให้สงสัยไว้ก่อนว่าอาจมีสารสเตียรอยด์ผสมอยู่
3) รับประทานแล้วหายปวดอย่างรวดเร็ว หิวบ่อย กินจุมากขึ้น เมื่อใช้ติดต่อกันนานประมาณ 1 เดือน มีอาการหน้าบวม ตัวบวม มีรอยช้าง่าย สงสัยว่ามีสารสเตียรอยด์ผสมอยู่ นาผลิตภัณฑ์ที่เราใช้ แจ้ง อสม. หรือ รพสต. ในพื้นที่ได้ทันที
4) ทดสอบด้วยชุดตรวจสอบสเตียรอยด์เบื้องต้น เรียกสั้นๆ ว่า “เทสคิท” ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผลทดสอบ 1 ขีด แปรผลเป็นบวกแสดงว่ามีสารสเตียรอยด์ ซึ่งสามารถตรวจเองได้ หรือนาผลิตภัณฑ์ต้องสงสัยปรึกษาเภสัชกรโรงพยาบาลช่วยตรวจสอบ"
Other Episodes
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : สปอตสารสเตียรอยด์ (เสียงผู้สูงอายุ+ลูก)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การดูแลผู้สูงอายุเมื่อมีอาการท้องผูก ท้องอืด และท้องเสีย (คำเมือง) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : ผิวแห้งในผู้สูงอายุ (คำเมือง) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การหลงลืมในผู้สูอายุ (คำเมือง) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การใช้สารสเตียรอยด์ให้ปลอดภัย (คำเมือง) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การเลิกใช้สารสเตียรอยด์ (คำเมือง) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : ตัวช่วยการป้องกันการลืมกินยา (คำเมือง) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : ถอดรหัสโฆษณายาหลอกหลวง
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : ต้องสงสัย เข้าข่ายมีสารสเตียรอยด์ (คำเมือง) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : รับรองความปลอดภัยจาก อย. ผิดกฎหมาย