การเขียนบันทึก เป็นวิธีหนึ่งที่ดีมาก ในการช่วยฝึกสมอง และพัฒนาความจำ ช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์ได้ เมื่ออายุมากขึ้น และความจำของคุณเสื่อมถอยไป รู้สึกว่ามึนๆ งงๆ เพิ่งทำอะไรไปก็จำไม่ได้เสียแล้ว ก็ทำให้คุณวิตกกังวลได้มากแล้ว การแก้ปัญหาในด้านความจำจึงต้องอาศัยการฝึกสมองอยู่เสมอ ช่วยให้คุณสามารถดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติสุขได้ หลักการเขียนบันทึก มีดังนี้
- หาสมุดสวยๆ มาสักเล่ม และพกพาได้สะดวก
- เขียนด้วยปากกา อาจใช้ปากกาสีเดียว หรือหลายๆ สี หรือวาดภาพ ระบายสี มีภาพถ่ายประกอบก็สามารถทำได้
- การเขียนบันทึกที่ดีต่อการฝึกความจำ ควรเป็นการเขียนก่อนนอน และเขียนบันทึกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในวันนั้นตั้งแต่ตื่นนอนไปจนถึงเข้านอน
- อาจเขียนเกี่ยวกับเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในวันนั้น หรือเขียนสรุปเรื่องที่ได้อ่าน หรือได้ดูมาก็ได้เช่นกัน
Other Episodes
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การหลงลืมในผู้สูอายุ (ไทย) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การดูแลผู้สูงอายุเรื่องใกล้ตัว (การขับถ่าย) (คำเมืองคนแก่)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : 6 วิธีกำจัดความเหงาให้กับผู้สูงอายุ (เสียงพากย์คำเมืองคนแก่)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : ผิวแห้งในผู้สูงอายุ (ไทย) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : มาทำความรู้จักสเตียรอยส์กันเถอะ (เสียงพากย์คำเมืองคนแก่)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การใช้ยาในผู้สูงอายุ (เสียงพากย์คำเมืองคนแก่)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : โรคกระดูกพรุน (คำเมือง)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การดูแลผู้สูงอายุเมื่อมีอาการท้องผูก ท้องอืด และท้องเสีย (ไทย) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การเขียนบันทึกช่วยฝึกความจำป้องกันอัลไซเมอร์ (คำเมือง)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : วิธีใช้สเตียรอยด์ให้ปลอดภัย (ไทย) (ver.1)