สเตียรอยด์ คือฮอร์โมนชนิดหนึ่งที่ร่างกายผลิตขึ้นเองได้ มีความสาคัญต่อการทางานของร่างกาย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือสเตียรอยด์ธรรมชาติที่ร่างกายสร้างได้เอง ซึ่งสร้างขึ้นในปริมาณเพียงเล็กน้อย มีหน้าที่ควบคุมการทางานของระบบต่างๆในร่างกายให้เป็นปกติ เช่น ต้านการอักเสบ ลดอาการปวดต่างๆ หรือปรับความเครียด ปรับความอ่อนเพลียไม่มีแรงให้เป็นปกติได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานเป็นปกติ ประเภทที่ 2 คือ สเตียรอยด์สังเคราะห์ที่บริษัทยาสร้างขึ้น เนื่องด้วยคุณสมบัติในการรักษาของสารสเตียรอยด์มีมากมาย จึงทำให้บริษัทยาผลิตสเตียรอยด์มาเพื่อใช้ในการรักษาทางการแพทย์ ซึ่งให้ผลเรื่องการรักษาโรคได้ดี รวดเร็วคล้ายสเตียรอยด์ธรรมชาติ ต่างตรงที่เป็นยาเคมีสังเคราะห์ มีผลข้างเคียงที่เป็นอันตราย มีฤทธิ์กดภูมิคุ้มกัน โดยตัวยามีหลายชนิดซึ่งชื่อที่เรามักคุ้นหูได้ยินบ่อยๆ คือ (Dexamethasone) เด็กซาเมทาโซน และ (Prednisolone) เพรดนิโซโลน
Other Episodes
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การหลงลืมในผู้สูอายุ (ไทย) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การดูแลผู้สูงอายุเรื่องใกล้ตัว (การขับถ่าย) (คำเมืองคนแก่)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : 6 วิธีกำจัดความเหงาให้กับผู้สูงอายุ (เสียงพากย์คำเมืองคนแก่)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : ผิวแห้งในผู้สูงอายุ (ไทย) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : มาทำความรู้จักสเตียรอยส์กันเถอะ (เสียงพากย์คำเมืองคนแก่)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การใช้ยาในผู้สูงอายุ (เสียงพากย์คำเมืองคนแก่)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : โรคกระดูกพรุน (คำเมือง)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การดูแลผู้สูงอายุเมื่อมีอาการท้องผูก ท้องอืด และท้องเสีย (ไทย) (ver.1)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : การเขียนบันทึกช่วยฝึกความจำป้องกันอัลไซเมอร์ (คำเมือง)
วัยเก๋า รู้เท่าทันสื่อ : วิธีใช้สเตียรอยด์ให้ปลอดภัย (ไทย) (ver.1)